เมนู

4. อนันตรปัจจัย


[248] 1. เหตุธรรมที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ-
ธรรมที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
2. เหตุธรรมที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ-
ธรรมที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
3. เหตุธรรมที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ-
ธรรมที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
4. เหตุธรรมที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ-
ธรรมที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
5. เหตุธรรมที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ-
ธรรมที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
มี 2 วาระ (วาระที่ 4-5)
6. เหตุธรรมที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย
7. เหตุธรรมที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

8. เหตุธรรมที่เป็นเนวเสกขาเสกขธรรม เป็นปัจจัย
แก่เหตุธรรมที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี 3
วาระ (วาระที่ 6-7-8)

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[249] ในเหตุปัจจัย มี 3 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี 5 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 8 วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
8 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 3 วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี 3 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 8 วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย
มี 3 วาระ.

ปัจจนียนัย


การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ


[250] ในนเหตุปัจจัย มี 8 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 8 วาระ
ฯลฯ

อนุโลมปัจจนียนัย


[251] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ... ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย


[252] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ... ฯลฯ
แม้ปัญหาวาระในกุสลติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น.